วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

รูปอุปกรณ์เครือข่าย





Personal Computer Memory Card International Association หรือ PCMCIA


อุปกรณ์เครือข่ายของมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต  ที่อาคาร 11 ชั้น 2
ปัจจุบันไม่ได้ใช้งาน

ส่ง 2553-12-08


Network Connection Details
รายละเอียด Network Connection Details
Connection-specific DNS  Suffix คือ   ชื่อของ Domain ที่เราเชื่อมต่อ
Description คือ
หัวข้อที่แสดงรายละเอียด Wireless Card  ของเครื่องที่เราใช้เชื่อมต่อ
Physical address คือ เลขที่ของการ์ดแลนที่ติดตั้งอยู่ในเครื่อง โดย Address มักจะถูกกำหนดจากโรงงานที่ผลิตการ์ดมา แต่เราสามารถทำการกำหนดได้โดยใช้โปรแกรมที่มากับการ์ดเพื่อเปลี่ยนแปลง Address ได้ในกรณีที่เกิดซ้ำ(ซึ่งโอกาสน้อยมาก)
DHCP Enabled คือ  โปรโตคอลที่ใช้ในการกำหนด IP Address อัตโนมัติแก่เครื่องลูกข่ายบนระบบ ที่ติดตั้ง TCP/IP สำหรับ DHCP server มีหน้าที่แจก IP ในเครือข่ายไม่ให้ซ้ำกัน เป็นการรับมาจาก Modem
IPv4 ย่อมาจาก "Internet Protocol Version 4
IPv4 Address: คือ IP ของเครื่องที่เร้าเตอร์สมมุติมาให้ ซึ่งประกอบด้วยตัวเลข 4 ชุด
IPv4 Subnet Mask คือ ค่า Subnet ของวง lan ที่กำลังต่อ
Lease Obtained  คือ เวลาใช้งาน ที่ได้ IP มาจาก DHCP
Lease expires  คือ เวลาที่ IP ที่ได้มาจะหมดอายุการใช้งาน และต้องขอ IP จาก DHCP ใหม่
IPv4  Default Gateway คือ ทางหลักในการสื่อสารกับ PC ที่อยู่ subnet อื่น โดยส่วนใหญ่แล้วจะหมายถึง PC ที่ทำหน้าที่ DHCP Server ( แจก IP ) เมื่อมีข้อมูลที่ต้องส่งออกไป subnet อื่น ข้อมูลก็จะวิ่งผ่าน Default Gateway โดยปกติแล้วในเครือข่ายเดียวกันหรือวงแลนเดียวกันจะต้องมีเลข default gateway เบอร์เดียวกันมิฉะนั้นจะเชื่อมต่อข้อมูลกันไม่ได้
IPv4 DHCP Sever  DHCP (Dynamic Host Configuration Protocol) คือ โปรโตคอลที่ใช้ในการกำหนด IP Address อัตโนมัติแก่เครื่องลูกข่ายบนระบบ ที่ติดตั้ง TCP/IP สำหรับ DHCP server มีหน้าที่แจก IP ในเครือข่ายไม่ให้ซ้ำ เป็นการลดความซ้ำซ้อน เมื่อเครื่องลูกเริ่ม boot ก็จะขอ IP address, Subnet mark, หมายเลข DNS และ Default gateway
ขั้นตอนการเชื่อมต่อของเครื่องลูกกับ DHCP server
1. เครื่องลูกค้นหาเครื่อง DHCP server ในเครือข่าย โดยส่ง DHCP discover เพื่อร้องขอ IP address
2. DHCP server จะค้นหา IP ที่ว่างอยู่ในฐานข้อมูล แล้วส่ง DHCP offer กลังไปให้เครื่องลูก
3. เมื่อเครื่องลูกได้รับ IP ก็จะส่งสัญญาณตอบกลับ DHCP Request ให้เครื่องแม่ทราบ
4. DHCP server ส่งสัญญาณ DHCP Ack กลับไปให้เครื่องลูก เพื่อแจ้งว่าเริ่มใช้งานได้
IPv4 DNS Sever คือ ระบบ Domain Name System  (DNS) นี้เป็นระบบจัดการแปลงชื่อไปเป็นหมายเลข IP address โดยมีโครงสร้างฐานข้อมูลแบบลำดับชั้นเพื่อใช้เก็บข้อมูลที่เรียกค้นได้อย่างรวดเร็ว
IPv4 WINS Sever คือ เครื่องเซิร์ฟเวอร์ที่ทำหน้าที่ให้บริการในการแปลงชื่อในระบบของ NetBIOS ให้กลายเป็น TCP/IP
NetBIOS over Tcpip Enabled NetBIOS ย่อมาจาก Network Basic Input/Output System ถูกออกแบบมาเพื่อเป็น protocol ที่เป็นตัวเชื่อม (interface) ระหว่างระบบปฏิบัติการกับฮาร์ดแวร์ เพื่อให้ application สามารถสื่อสารกับเครือข่ายได้โดยเป็นอิสระจากฮาร์ดแวร์
Link-local  IPv6 Address     IPv6 ย่อมาจาก "Internet Protocol Version 6" ซึ่งจะเป็น Internet protocol รุ่นต่อไป เพื่อที่จะนำมาใช้แทน Internet Protocol รุ่นปัจจุบันคือ IP Version 4 ("IPv4") การปรับปรุงที่ชัดเจนของ IPv6 คือความยาวของ IP address เปลี่ยนจาก 32 เป็น 128   IPv6  จะใช้ระบบ 128 บิตในการระบุหมายเลข IP
IPv6 Default Gateway (Internet Protocol version 6) เป็นเวอร์ชันล่าสุดของ Internet Protocol และได้รวมผลิตภัณฑ์ที่สนับสนุน IP มาเป็นส่วนหนึ่งด้วย รวมถึงระบบปฏิบัติการหลัก IPv6 ได้รับการเรียกว่า "IPng" (IP Next Generation) โดยปกติ IPv6 เป็นกลุ่มของข้อกำหนดจาก Internet Engineering Task Force (IETF) โดย IPv6 ได้รับการออกแบบให้ปฏิรูปกลุ่มของการปรับปรุง IP เวอร์ชัน 4 โดย host ของเครือข่ายและ node

วันจันทร์ที่ 15 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ส่งงาน 2553-11-10


Layer 4: Transport Layer
            In computer networking, the Transport Layer provides end-to-end communication services for applications within a layered architecture of network components and protocols. The transport layer provides convenient services such as connection-oriented data stream support, reliability, flow control, and multiplexing.
            Transport layers are contained in both the TCP/IP model (RFC 1122) which is the foundation of the Internet, and the Open Systems Interconnection (OSI) model of general networking. The definitions of the Transport Layer are slightly different in these two models. This article primarily refers to the TCP/IP model, in which TCP is largely for a convenient application programming interface to internet hosts, as opposed to the OSI model definition of the Transport Layer.
            The most well-known transport protocol is the Transmission Control Protocol (TCP). It lent its name to the title of the entire Internet Protocol Suite, TCP/IP. It is used for connection-oriented transmissions, whereas the connectionless User Datagram Protocol (UDP) is used for simpler messaging transmissions. TCP is the more complex protocol, due to its stateful design incorporating reliable transmission and data stream services. Other prominent protocols in this group are the Datagram Congestion Control Protocol (DCCP) and the Stream Control Transmission Protocol (SCTP)
Examples
The Transmission Control Protocol (TCP) is one of the core protocols of the Internet Protocol Suite. TCP is one of the two original components of the suite, complementing the Internet Protocol (IP), and therefore the entire suite is commonly referred to as TCP/IP. TCP provides the service of exchanging data directly between two network hosts, whereas IP handles addressing and routing message across one or more networks. In particular, TCP provides reliable, ordered delivery of a stream of bytes from a program on one computer to another program on another computer. TCP is the protocol that major Internet applications rely on, applications such as the World Wide Web, e-mail, and file transfer. Other applications, which do not require reliable data stream service, may use the User Datagram Protocol (UDP) which provides a datagram service that emphasizes reduced latency over reliability.

วันศุกร์ที่ 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

ส่งงาน 2553-11-03


อุปกรณ์เครือข่าย
PCMCIA/PC Card
ที่มา www.salestores.com
แลนการ์ดไร้สาย PCMCIA สำหรับติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ Notebook
PCMCIA/PC Card คืออะไร
Personal Computer Memory Card International Association หรือ PCMCIA
แลนการ์ดไร้สายแบบ PCMCIA (Wireless PC Card) แลนการ์ดไร้สายแบบ PCMCIA เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ติดตั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์ Notebook ที่มีช่องเชื่อมต่อแบบ PCMCIA
แลนการ์ดไร้สายแบบ PCMCIA ทำหน้าที่ในการแปลงข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องการส่งเป็นคลื่นวิทยุส่งผ่านอากาศออกไปและทำหน้าที่รับเอาคลื่นที่อุปกรณ์เครือข่ายไร้สายอื่น ๆ บนระบบแพร่กระจายออกมาแปลงกลับเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถนำไปประมวลผลได้
PCMCIA Card หรือ PC Card 
เป็นจุดกำเนิดของการ์ด โดยถูกพัฒนาขึ้นมาจากอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ในยุคปลายทศวรรษที่ 80 จุดประสงค์คือต้องการให้คอมพิวเตอร์ Notebook สามารถเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภายนอกได้ มีด้วยกัน 3 แบบคือ 
1.PCMCIA Type I
2. PCMCIA Type II
3. PCMCIA Type III 

PCMCIA/PC Card  เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการรับ-ส่งข้อมูลแบบ DCE
เพราะ Personal Computer Memory Card International Association ทำหน้าที่ในการแปลงข้อมูลของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ต้องการส่งเป็นคลื่นวิทยุส่งผ่านอากาศออกไปและทำหน้าที่รับเอาคลื่นที่อุปกรณ์เครือข่ายไร้สายอื่น ๆ
บนระบบแพร่กระจายออกมาแปลงกลับเป็นข้อมูลที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถนำไปประมวลผลได้
DCE (Data Communications Equipment) : อุปกรณ์ที่มีฟังก์ชั่นการทำงานต่าง ๆ ที่ทำให้เกิดการเชื่อมต่อ ทำให้การเชื่อมต่อยังดำเนินต่อไป และยุติการเชื่อมต่อ นอกจากนียังใช้เปลี่ยนลักษณะของสัญญาณและสร้างรหัสสัญญาณต่าง ๆ

วันจันทร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2553

ประวัติส่วนตัว

ข้อมูลส่วนตัว
      ชื่อ   นาย  พอเจตน์  พรมสิน   ชื่อเล่น เบียร์
      เพศ      : ชาย                   หมู่เลือด   :   เอ
      ส่วนสูง  : 171 เซนติเมตร    น้ำหนัก   :  53 กิโลกรัม
      สัญชาติ : ไทย                   ศาสนา   พุทธ
      สถานภาพสมรส    :   โสด
      การเกณฑ์ทหาร    :     -
      Email : projet_beer@hotmail.com

วันอาทิตย์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2553

บุคลิกภาพ


บุคลิกภาพสไตล์ Bizcom

                   ในสายอาชีพธุรกิจ จะต้องมีหน้าที่ของแต่ละคน หากคุณเป็นหนึ่งในผู้ที่มีความสามารถจนกลายเป็นหัวหน้าของเหล่าลูกน้อง สิ่งที่คุณจะขาดไม่ได้ก็คือ "บุคลิกภาพของผู้นำ" ซึ่งจะเป็นสิ่งที่ทำให้สายตาที่มองคุณจากรอบข้างเป็นไปในด้านใด และสิ่งนี้จะเป็นตัวสร้างความน่าเชื่อถือให้แก่คุณและ ผู้ติดต่อธุรกิจกับคุณ  คุณจึงจำเป็นที่จะต้องศึกษาความเป็นผู้นำเสียก่อน...
บุคลิกภาพผู้นำของผู้บริหารที่ดี ขั้นพื้นฐาน 10 อย่าง
  1. เป็นผู้ที่มีสติปัญญาเฉลียวฉลาด และมีไหวพริบดี
  2. เป็นผู้มีความสามารถในการวิเคราะห์
  3. สามารถวิเคราะห์เหตุการณ์ และมีการตัดสินใจดี
  4. เป็นผู้มีความคิดริเริ่ม และเป็นผู้รอบรู้
  5. เป็นที่พึ่งแก่เพื่อนร่วมงาน และเชื่อถือไว้วางใจได้
  6. ตัดสินใจได้แน่นอน ไม่รวนเร
  7. รู้จักปรับตัว และเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม
  8. เป็นผู้ที่มีจิตใจมั่นคง ไม่เอาแต่อารมณ์ของตนเป็นใหญ่
  9. มีคุณลักษณะและความประพฤติส่วนตัวที่ดี
  10. เป็นผู้ที่มีความเป็นผู้นำ
จากบุคลิกภาพขั้นพื้นฐาน 10 ข้อ ข้างต้น จะสรุปได้ว่า
บทบาทผู้นำของผู้บริหารที่ดีนั้น จะต้องเป็นผู้ที่มีความเฉลียวฉลาด มีไหวพริบในการตัดสินใจและแก้ไขปัญหา  เป็นผู้ที่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความเยือกเย็น วางตัวเป็นที่น่านับถือของลูกน้อง 

วันจันทร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2553

ลูกแรดเตรียมพร้อมล่าเหยื่อ

สิ่งที่ได้รับจากการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ

          การบรรยายครั้งที่ 1 ปฐมนิเทศรับขวัญสู่บ้านใหม่
          วันที่ 23 มิถุนายน 2553
          บรรยายโดย อ.สาระ  มีผลกิจ
        - ได้ทราบประวัติความมาของมหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต ว่ามีความเป็นมาอย่างไร มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไรบ้าง   สถานที่ไหนเป็นสถานที่ศักสิทธิ์  

        - ได้ตระหนักถึงความสำคัญของสถานที่  ว่าเป็นสถานที่ทีมีความสำคัญใน
ประวัติศาสตร์
        - ได้ทราบถึงสถานที่สำคัญ  และตำแหน่งที่ตั้งของแต่ละสถานที่ในมหาวิทยาลัย                      
        - กฎระเบียบและข้อปฏิบัติในการเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัย
        - รู้กำหนดการต่างๆของรายวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
                       

          การบรรยายครั้งที่ 2 การพัฒนาบุคลิกภาพ คุณธรรมจริยธรรมและธนาคารความดี
          วันที่ 14 กรกฎาคม 2553
          บรรยายโดย  ผศ. โรจนา  ศุขพันธ์
        - ทราบถึงคุณลักษณะที่ดีของการที่เป็นนักศึกษา
        - ทราบว่าควรปฏิบัติตนอย่างไรให้อยู่ในกฎเกณฑ์ที่ถูกต้อง 
        - ทิศทั้ง 6 ในทางพระพุทธศาสนา ที่เราควรเคารพบูชา และให้ความสำคัญ     
        - วิธีการปรับปรุงตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสังคม
        - ได้รู้จักการทำความดีเพื่อบุคคลอื่น และเพื่อสังคม
        - ได้นำหลักธรรมและข้อคิดที่ได้จากการเข้าฟังบรรยาย มาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
       

          การบรรยายครั้งที่3 กิจกรรมทางการเงินส่วนบุคคล
          วันที่ 28 กรกฏาคม 2553
          บรรยายโดย  คุณ กษม  ภูติจินดานันท์
        - ทำให้รู้จักการวางแผนการใช้เงิน
        - ทำให้รู้จักการวางแผนการออม
        - ทำให้รู้จักคุณค่าของเงินมากยิ่งขึ้น
        - ทำให้คิดก่อนทุกครั้งที่จะใช้จ่ายในสิ่งที่ไม่จำเป็น
        - ประโยชน์ของการออมเงิน
        - ได้ทราบเป้าหมายทางการเงินของแต่ละช่วงอายุที่ควรมี
        - การทำบันทึกรายรับรายจ่ายของเราในหนึ่งเดือน

        การบรรยายครั้งที่4 ทักษะการสื่อสารภาษาไทยในชีวิตประจำวัน
        วันที่ 25 สิงหาคม 2553
        บรรยายโดย  อ. ปรีชา  ร่วงลือ
      - ทำให้รู้จักการใช้ภาษาไทยในชีวิตประจำวัน
      - รู้จักวิธีเขียนอักษรภาษาไทยที่ถูกต้อง
      - หลักการเขียนภาษาไทยจะต้องเขียนหัวก่อนเป็นอันดับแรก
      - ความสำคัญของภาษาไทยที่เราควรอนุรักษ์ภาษาของเราไว้
      - ความสำคัญของภาษาพูด ภาษาเขียน
      - การใช้ภาษาให้ถูกต้องตามหลัก และกาลเทศะ

          การบรรยายครั้งที่5 เตรียมพร้อมเพื่อการฝึกงานอย่างมืออาชีพ
          วันที่ 1 กันยายน 2553
          บรรยายโดย  หลวงปู่พุทธะอิสระ  และ คุณ มนัส ตั้งสุข
        - ได้ทราบถึงความหมายของ”อาชีพ”
        - การทำหน้าที่ในอาชีพของตนเองให้ดีที่สุด
        - ทำให้ทราบถึงเส้นทางการเตรียมตัวสู่อาชีพในอนาคต
        - จากการได้เข้าฟังบรรยายทำให้รู้สึกตัว ว่าเราควรจะต้องเตรียมตัวเพื่อก้าวไปสู่การประกอบอาชีพ
        - รู้จักการทดแทนผู้มีพระคุณ
        - ได้เรียนรู้จากท่านว่าการจะทำงานให้สำเร็จต้องลงมือทำทั้งกายและใจอย่างตั้งใจ